MAKE OR BREAK: TRANSLATION PROJECT (REST HOUSE)


Started: 2021

Time/labour: ︎︎︎︎︎

Thanks to: Phimai Heritage Trust, Khon Kaen University and Rajamangala University of Technology Isan.
Architects: Sitta Kongsasana, Sininart Kotruchin, Benjawan Thatsanaleelaporn, Mongkol Wongkittiwimol.
Architectural Production: Narathip Sonthisumphun, Nitwipha Jaiplaeng.
Construction Team: Thanasit Chantaree, Arnuchit Booskarm.
Rattan Crafters: Somkoun Ngoophimai, Puckjiravarin Kaewdonree.
Translators: Rungsima Kullapat, Thailand Biennale

translation // power // colonial // conversation // vernacular // material // text // futures

~

Image: Make or Break, Translation project (rest house), 2021. Installation view at  Meru Bhrommathat, Phimai for Thailand Biennale Korat 2021. Image by Make or Break.
แปลไทยด้านล่าง

TRANSLATION PROJECT (REST HOUSE) is the result of an experimental process of translation and exchange between Make or Break and a group of architects, craftspeople, fabricators and researchers. It began as a series of translated texts describing a piece of Australian vernacular architecture.

The original ‘bus stop’ on which this structure is based is a 1970s Brutalist design, reproduced across Australia’s capital city of Canberra on Ngunnawal Country. The shelter in the Thai iteration  occupies a parallel position to the Khmer ‘rest houses’ that once dotted the Royal Road between Angkor Wat and Phimai. Simultaneously sites of hospitality and care, and also historical monuments to colonial power, the tensions embedded in these structures are played out again through the cultural and linguistic processes of translation (and what cannot be translated).

The rest house is now a space for contemplation and pause, and for open use by the community. At other times, the site will become a space for critical cross-cultural conversation and programs. 

This project was first commissioned by Thailand Biennale Korat 2021, curated by Yuko Hasegawa, with support from OCAC, Phimai Heritage Trust, Khon Kaen University and Rajamangala University of Technology Isan.


Media:
Thailand Biennale website


งานศิลปะชิ้นนี้สร้างสรรค์ โดย ศิลปิ นชาวออสเตรเลีย “เมคออร์เบรค” เพื่องาน “ ไทยแลนด์เบียน าเล่ โคราช 2021”

โครงการ “การถอดความ”หรือ (ที่พักคนเดินทาง) ของศิลปิ นเมคออร์เบรค ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ นี้ ประกอบ ด้วย ผลงานศิลปะแบบติดตั้งเฉพาะที่ พร้อมด้วยตัวบท รูปแบบการสร้าง วัตถุจัดแสดง เอกสารออนไลน์ และบทสนทนา

โครงการการถอดความ (ที่พักคนเดินทาง) เป็ นผลของกระบวนการทดลองของการถอดความและการแลก เปลี่ยน ระหว่างศิลปิ น เมคออร์เบรก และกลุ่มสถาปนิกชาวไทย ช่างหัตถกรรม ช่างก่อสร้าง และนักวิจัย โดยมีจุดเริ่มต้นจากงานตัวบทแปลที่อธิบายถึงสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของออสเตรเลียชิ้นหนึ่ง

จุดกำาเนิดของ “ป้ ายรถเมล์” (ที่พักคนเดินทาง) เป็ นโครงสร้างของงานศิลปะชิ้นนี้ มีรากฐานมาจากการ ออกแบบแบบบรูทัลลิสต์ ในช่วงทศวรรษ 1970 (๒๕๑๙) ซึ่งมีการนำามาจัดสร้างขึ้นใหม่ เพื่อใช้งานทั่วกรุง แคนเบอร่าเมืองหลวงของประเทศออสเตรเลีย หรือที่รู้จักกันดี ในนามเมืองของชาวพื้นเมือง นงันนาวัล (ชาวอะบอริจินิสกลุ่มแรกของประเทศออสเตรเลีย: ผู้แปล) ที่พักคนเดินทางแห่งนี้ตั้งอยู่คู่ขนานกับที่พัก คนเดินทาง หรือ บ้านมี ไฟ สมัยเขมร ที่ตั้งอยู่ตามเส้นทางราชมรรคา ระหว่างนครวัดและเมืองพิมาย ซึ่งใน ขณะเดียวกันกับการทำาหน้าที่ดูแลคนที่สัญจรไปมา ยังทำาหน้าที่เป็ นอาคารทางประวัติศาสตร์ที่สะท้อนให้ เห็นอำานาจของความเป็ นอาณานิคม ความหมายเหล่านี้ได้ถูกนำามาแสดงให้เห็นโดยผ่านกระบวนการทาง วัฒนธรรมและภาษาศาสตร์ของการถอดความ (และยังคงมีความหมายบางอย่างที่ไม่สามารถถอดความออก มาได้)

ที่พักคนเดินทางแห่งนี้ ได้กลายเป็ นพื้นที่พักกายและใจให้แก่คนทั่วไป และยังเป็ นพื้นที่สาธารณะให้แก่ ชุมชน เมื่องานเบียนนาเล่เสร็จสิ้นแล้ว ที่พักคนเดินทางแห่งนี้จะกลายเป็ นพื้นที่สำาหรับการใช้งานในการ พบปะพูดคุยและทำากิจกรรมต่างๆแบบข้ามวัฒนธรรมในเชิงวิเคราะห์

ต่อไป ศิลปิ น: เมคออร์เบรก 
สนับสนุนโดย : กลุ่มภาคีอนุรักษ์เมืองพิมาย, มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน
ทีมสถาปนิก : สิทธา กองสาสนะ , สินินาถ โคตรุฉิน, เบญจวรรณ์ ทัศนลีลพร, มงคล วงศ์กิตติวิมล
ทีมสร้างงานด้านสถาปัตยกรรม : นราธิป สนธิสัมพันธ์, นิจวิภา ใจแปลง
ทีมโซลาร์เซล : อรรถ ชมาฤกษ์, วิทวัส โคตรบุรี, มงคล วงศ์กิตติวิมล
ทีมก่อสร้าง : ธนสิทธิ์ จันทะรี, อานุชิต บุตรคาม, เกริกกำาพล สำาเริง
ช่างฝี มือจักสาน : สมควร งูพิมาย, ภัคจิรวรินทร์ แก้วดอนรี
ผู้แปล : รังสิมา กุลพัฒน์
ล่ามแปลภาษาไทย: ติรชา เคนวิเศษ